คานคอดิน (GROUND BEAM) ควรอยู่สูงจากระดับพื้นดินเท่าไหร่
คานคอดิน (Ground Beam) คือส่วนประกอบโครงสร้างบนดินที่รับน้ำหนักพื้น ผนัง และสิ่งที่อยู่เหนือคานคอดินขึ้นไป แล้วจึงถ่ายน้ำหนักไปยังตอม่อและฐานรากต่อไป การก่อสร้างคานคอดิน แบ่งจากระดับความสูงจากพื้นดินได้ 2 แบบ คานคอดินวางอยู่บนระดับดิน เนื่องจากระดับพื้นชั้นล่างอยู่สูงจากระดับดินไม่มากนัก ในการก่อสร้างจึงมักทำเนินดินให้สูงเสมอท้องคานคอดิน และเทลีน (Lean) เพื่อใช้เป็นแบบหล่อท้องคานแทนการใช้ไม้แบบ และใช้ไม้แบบเฉพาะด้านข้างคานทั้งสองด้าน คานคอดินอยู่สูงจากระดับดินมากกว่า 1 … Read More
เสาเข็ม เพื่อการต่อเติมบ้าน ยังคงมาแรง ครับ
เสาเข็ม เพื่อการต่อเติมบ้าน ยังคงมาแรงครับ สวัสดีเช้าวันจันทร์ครับ วันนี้ Mr.SpunMan มีภาพเสาเข็มเพื่อต่อเติมฐานรากบ้าน มาฝากครับ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam พร้อมบริการเสมอ เราสามารถทำงานภายใน อาคาร หรือ ที่แคบได้ ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง หน้างานสะอาด … Read More
เฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกร
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา STRUCTURAL ANALYSIS นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 191 จากรูป จงใช้วิธี PORTAL วิเคราะห์โครงข้อแข็ง ซึ่งมีค่า EI คงที่ทุกชิ้นส่วน ในการหาค่าแรงปฏิกิริยาที่จุดรองรับ A เฉลย สิ่งที่เราควรทำเมื่อเจอปัญหาแบบนี้ คือ … Read More
เสาเข็มรับแรงกระทำทางด้านข้าง
ref : https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1318667298179392 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเสาเข็มรับแรงกระทำทางด้านข้างแก่เพื่อนๆ นะครับ โดยเรื่องเสาเข็มรับแรงทางด้านข้างนี้เป็นหลายๆ เรื่องที่น่าปวดหัวสำหรับวิศวกรโครงสร้างและวิศวกรธรณีเทคนิคหลายๆ ท่านนะครับ แต่ เอาเป็นว่าก็ไม่ใช่เรื่องที่ยากจนเกินความเข้าใจของวิศวกรไทยแน่นอนครับ เมื่อต้องทำการออกแบบเสาเข็มรับแรงทางด้านข้าง ก่อนอื่นเราต้องทำการจำแนกก่อนนะครับว่าเสาเข็มของเรานั้นมีคุณลักษณะเป็นแบบใด คือ (1) เป็นแบบ RIGID PILE (ดูรูปที่ … Read More