บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากวันนี้ผมพอจะมีเวลาว่างเล็กน้อย เลยจะขออนุญาตมาตอบคำถามที่เพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งได้ฝากคำถามกับผมไว้มาสักพักใหญ่แล้วโดยมีใจความของคำถามว่า   “ เพราะเหตุใดเวลาทำงานพื้น คอร ชนิดดึงเหล็กทีหลัง (POST-TENSIONED SLAB) … Read More

ต่อเติมฐานรากโรงงาน หรือ อาคาร ด้วย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam ครับ

ต่อเติมฐานรากโรงงาน หรือ อาคาร ด้วย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam ครับ สวัสดีครับ ช่วงนี้งาน ฐานรากโรงงาน สร้างบ้านใหม่ หรือ ต่อเติมบ้าน อาคาร ก็กำลังมาแรง วันนี้ Mr.SpunMan … Read More

เสาเข็มต่อเติมอาคาร พื้นที่จำกัด แนะนำเสาเข็ม SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam

เสาเข็มต่อเติมอาคาร พื้นที่จำกัด แนะนำเสาเข็ม SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” การทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้ในสัปดาห์ที่แล้วว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาขยายความเกี่ยวกับเรื่องข้อมูลที่เราจะสามารถตรวจพบและไม่สามารถที่จะตรวจพบได้จากการทำการทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการใส่แรงกระแทกเข้าไปที่ส่วนบนของโครงสร้างเสาเข็ม ซึ่งโพสต์นี้ก็น่าที่จะเป็นโพสต์สุดท้ายเกี่ยวกับการแชร์ความรู้ในการโพสต์รอบนี้แล้วนะครับ ก่อนที่จะเริ่มในเนื้อหาในส่วนนี้ผมอยากจะขอฝากไว้นิสนึงตรงนี้ว่า หลังจากที่ในครั้งที่แล้วที่ผมได้ทำการอธิบายให้เพื่อนๆ ได้ทราบถึงข้อดีและข้อจำกัดของวิธีในการทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการใส่แรงกระแทกเข้าไปที่ส่วนบนของโครงสร้างเสาเข็มไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วเพื่อนๆ ก็น่าจะเห็นได้ว่าจริงๆ แล้วข้อจำกัดของวิธีการทดสอบนี้ก็มีอยู่ค่อนข้างมาก ดังนั้นหากจะเลือกนำเอาวิธีการดังกล่าวนี้มาใช้ในการทดสอบโครงสร้างเสาเข็มผมก็ขอให้คำแนะนำว่า เพื่อนๆ … Read More

1 163 164 165 166 167 168 169 186