ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

 ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากเมื่อหลายวันก่อนมีเพื่อนของผมท่านหนึ่งได้อินบ๊อกซ์เข้ามาปรึกษากับผมว่า มีปัญหากับการที่ทาง ผู้รรับเหมา นั้นทำงานได้คุณภาพที่ถือว่าแย่มากๆ และพอผมได้ดูรูปที่ได้ส่งมาให้ดูผมถึงกับตะลึงไปเลย ซึ่งหากเพื่อนๆ ได้ดูรูปประกอบในโพสต์ๆ นี้ก็จะเห็นได้ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นนี้ เกิดขึ้นจากการที่ทาง ผรม นั้นขาดการตรวจสอบพิกัดของเสาตอม่อให้ดีและถูกต้องเพียงพอในขณะที่ทำงาน การกำหนดพิกัดและการตอกเสาเข็ม หรือ การก่อสร้างงานฐานราก นั่นเองนะครับ … Read More

แรงดันดินใต้ฐานราก (BEARING PRESSURE OF SOIL UNDER ON GRADE FOOTING)

แรงดันดินใต้ฐานราก (BEARING PRESSURE OF SOIL UNDER ON GRADE FOOTING) สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  เนื่องจากเมื่อหลายวันก่อนที่ผมได้โพสต์แชร์ความรู้ที่เกี่ยวกับฐานรากแผ่ (BEARING FOOTING) ไปนะครับ ผลปรากฎว่ามีน้องวิศวกรที่ให้ความสนใจติดตามอ่านกันเยอะพอสมควรนะครับ และ มีคำถามตามมาหลายคำถามนะครับ ผมก็ได้ทะยอยตอบไปบ้างแล้ว วันนี้ผมจะตอบอีกหนึ่งคำถามที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการออกแบบฐานรากแผ่ที่มีน้องวิศวกรท่านหนึ่งได้ติดตามและสอบถามผมมานะครับว่าอยากให้ผมแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องแรงดันดินใต้ฐานราก … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบ เสาเข็มไมโครไพล์

วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่อง วิธีในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างของอาคารเพื่อใช้ในการต้านทานแรงที่กระทำจากแผ่นดินไหว นั่นเองนะครับ โดยหากจะพูดกันถึงหัวข้อๆ นี้จะพบว่าเนื้อหานั้นค่อนข้างที่จะมีความยืดยาวมากพอสมควรเลย ผมจึงตัดสินใจที่จะทำการแบ่งออกเป็นตอนๆ โดยที่ในวันนี้จะเป็นตอนที่ 1 ซึ่งจะเป็นการกล่าวถึง หลักวิธีที่เราใช้ในการออกแบบ นะครับ หากเมื่อใดก็ตามที่เราพูดถึงแรงกระทำที่เกิดจากสภาวะการเกิดขึ้นของแผ่นดินไหว เราจะต้องอาศัยความพยายามสักเล็กน้อยในการที่จะจินตนาการให้ออกว่า แรงชนิดนี้เสมือนเป็นแรงที่เกิดจากการสั่นตัวของพื้นซึ่งจะทำให้อาคารนั้นเกิด การเคลื่อนที่ไปทางด้านข้าง หรือ เกิดการเซขึ้น ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวนี้จะเป็นสิ่งที่บังคับให้โครงสร้างของอาคารที่เรากำลังพิจารณาออกแบบอยู่นั้นเกิดการเคลื่อนตัวไป … Read More

การรับแรงกระทำทางด้านข้างของเสาเข็ม

การรับแรงกระทำทางด้านข้างของเสาเข็ม ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเสาเข็มรับแรงกระทำทางด้านข้างแก่เพื่อนๆ นะครับ โดยเรื่องเสาเข็มรับแรงทางด้านข้างนี้เป็นหลายๆ เรื่องที่น่าปวดหัวสำหรับวิศวกรโครงสร้างและวิศวกรธรณีเทคนิคหลายๆ ท่านนะครับ แต่ เอาเป็นว่าก็ไม่ใช่เรื่องที่ยากจนเกินความเข้าใจของวิศวกรไทยแน่นอนครับ เมื่อต้องทำการออกแบบเสาเข็มรับแรงทางด้านข้าง ก่อนอื่นเราต้องทำการจำแนกก่อนนะครับว่าเสาเข็มของเรานั้นมีคุณลักษณะเป็นแบบใด คือ (1) เป็นแบบ RIGID PILE (ดูรูปที่ 1) (2) เป็นแบบ ELASTIC … Read More

การคำนวนระยะ การเสียรูปทรงของโครงสร้าง

วิธีในการคำนวณหาค่าระยะการเสียรูปของโครงสร้างโครงถักโดยวิธี CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายถึงวิธีในการคำนวณหาค่าระยะการเสียรูปของโครงสร้างโครงถักโดยวิธี CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทดสอบดูซิว่าเพื่อนๆ ทุกคนจะมีความเข้าใจและสามารถนำหลักการที่ผมได้อธิบายไปประยุกต์ใช้ได้ดีเพียงใด โดยที่ปัญหาที่ผมจะขอเชิญชวนให้เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้มาร่วมสนุกตอบคำถามประจำสัปดาห์ไปด้วยกันนั้นมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ในรูปๆ นี้จะเป็นรูปโครงข้อหมุนที่มีช่วงพาดเป็นแบบง่าย หรือ SIMPLE … Read More

ปัญหาจากเสาเข็มชำรุด

ปัญหาจากกำแพงบ้านและตัวบ้านชำรุดหรือทรุด สาเหตุที่ทำให้เสาเข็มชำรุด มีหลายสาเหตุเนื่องจาก เสาเข็มไมได้คุณภาพ เช่น อัตราส่วนผสมของปูน หิน ทราย ผสมไม่ได้อัตราสัดส่วนที่พอดี พอก่อสร้างได้สักระยะ ก็เกิดการสึกกล่อน หินกระเทาะออก และทำให้โครงสร้างชั้น ทรุดไปด้วย  และมีอีกหนึ่งสาเหตุ คือ ฐานราก ไม่มันคง คือเสาเข็มใต้พื้นดินรับน้ำหนัก ไม่เพียงพอ … Read More

ปัญหาจากการทำงานก่อสร้างเสาเข็มเจาะด้วยกรรมวิธีแบบแห้ง หรือ ที่เรานิยมเรียกกันจนติดปากว่า DRY PROCESS BORED PILE

  ปัญหาจากการทำงานก่อสร้างเสาเข็มเจาะด้วยกรรมวิธีแบบแห้ง หรือ ที่เรานิยมเรียกกันจนติดปากว่า DRY PROCESS BORED PILE วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ปัญหาที่ผมจะนำมาเสนวนากับเพื่อนๆ ในวันนี้จะมีความเกี่ยวข้องกับเรื่อง ปัญหาจากการทำงานก่อสร้างเสาเข็มเจาะด้วยกรรมวิธีแบบแห้ง หรือ ที่เรานิยมเรียกกันจนติดปากว่า DRY PROCESS BORED PILE … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป By ภูมิสยามฯ ภูมิความรู้

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่อง แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว ให้เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันนะครับ แผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว ก็คือพื้นที่มีระยะของด้านยาว … Read More

ความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS

ความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS ประเภทของโครงถักแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบหลักๆ คือ (1) โครงถักแบบท้องเรียบ (ความลึกเท่ากันตลอดทั้งความยาว) (2) โครงถักแบบจั่ว (ชนิดมีความลึกที่ปลายด้วย) (3) โครงถักแบบจั่ว (ชนิดไม่มีความลึกที่ปลายเลย) หากเราให้ L เป็นความยาวช่วงทั้งหมดระหว่างเสาถึงเสาที่รองรับตัวโครงถัก … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบ ที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ

วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่อง วิธีในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างของอาคารเพื่อใช้ในการต้านทานแรงที่กระทำจากแผ่นดินไหว นั่นเองนะครับ โดยหากจะพูดกันถึงหัวข้อๆ นี้จะพบว่าเนื้อหานั้นค่อนข้างที่จะมีความยืดยาวมากพอสมควรเลย ผมจึงตัดสินใจที่จะทำการแบ่งออกเป็นตอนๆ โดยที่ในวันนี้จะเป็นตอนที่ 1 ซึ่งจะเป็นการกล่าวถึง หลักวิธีที่เราใช้ในการออกแบบ นะครับ หากเมื่อใดก็ตามที่เราพูดถึงแรงกระทำที่เกิดจากสภาวะการเกิดขึ้นของแผ่นดินไหว เราจะต้องอาศัยความพยายามสักเล็กน้อยในการที่จะจินตนาการให้ออกว่า แรงชนิดนี้เสมือนเป็นแรงที่เกิดจากการสั่นตัวของพื้นซึ่งจะทำให้อาคารนั้นเกิด การเคลื่อนที่ไปทางด้านข้าง หรือ เกิดการเซขึ้น ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวนี้จะเป็นสิ่งที่บังคับให้โครงสร้างของอาคารที่เรากำลังพิจารณาออกแบบอยู่นั้นเกิดการเคลื่อนตัวไป … Read More

1 2 3 4 6