การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามสั้นๆ ง่ายๆ แต่ น่าจะมีประโยชน์ที่เพื่อนของผมท่านหนึ่งเคยสอบถามผมไว้พักใหญ่ๆ แล้วข้อหนึ่ง นั่นก็คือ “หากว่ามีความประสงค์ที่จะทำการขุดและถมดินในบริเวณที่ดินที่ซื้อเอาไว้ อยากที่จะรบกวนให้ผมช่วยทำการอธิบายและเล่าให้ทราบถึงข้อพิจารณาในการทำงานขุดและถมดินให้ได้ทราบได้หรือไม่ครับ ?” การทำงานการขุดและถมดินเป็นการนำ หรือ เคลื่อนย้ายดินจากแหล่งหนึ่งไปสู่อีกแหล่งหนึ่งเพื่อให้ระดับของดิน … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN)

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN) ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงเรื่องแรงๆ หนึ่งที่ต้องถือว่ามีความสำคัญอย่างมากในการออกแบบหน้าตัดโครงสร้าง คสล ที่เรามิอาจที่จะละเลยไม่ทำการออกแบบได้ นั่นก็คือ แรงโมเมนต์บิด หรือว่า TORSIONAL MOMENT FORCE นั่นเองนะครับ แรงโมเมนต์บิดนั้นจะเกิดขึ้นในองค์อาคารก็ต่อเมื่อต้องรับน้ำหนักบรรทุกแบบเยื้องศูนย์ออกห่างจากแนวแกนองค์ของอาคาร เช่น … Read More

เสาเข็มที่ใช้นั้นได้ผลการตอกเสาเข็มไม่ตรงกับการคำนวณ

หากในไซต์งานของเรามีประเด็นเกี่ยวกับว่าเสาเข็มที่ใช้นั้นได้ผลการตอกเสาเข็มไม่ตรงกับการคำนวณเราจะมีวิธีการทดสอบเสาเข็มด้วยวิธีการใดบ้าง และ วิธีการทดสอบใดที่จะให้ผลที่น่าเชื่อถือมากกว่ากัน ? วิธีในการทดสอบการรับกำลังของเสาเข็มจะสามารถทำได้จาก 2 วิธีหลักๆ คือ 1. วิธีทดสอบการรับน้ำหนัก แบบสถิตศาสตร์ (STATIC LOAD TEST) 2. วิธีทดสอบการรับน้ำหนัก แบบพลศาสตร์ (DYNAMIC LOAD TEST) … Read More

บล๊อกตัวหนอน มีคราบเขียว

บล๊อกตัวหนอน มีคราบเขียว บล๊อกตัวหนอน มีคราบเขียว อย่างนี้ อย่าทุบออก หรือขนไปทิ้ง แนะนำให้ ใช้ น้ำแรงดันสูง หรือสายยาง ฉีด น้ำ ขัดด้วยแปรงลวด คราบเขียวก็จะหลุดออกหมด เพราะ เป็น มอส ที่เกิด จากความชื้น … Read More

วิธีการตรวจสอบคอนกรีตผสมเสร็จ

วิธีการตรวจสอบคอนกรีตผสมเสร็จ หากเพื่อนๆ ไปทำการตรวจการทำงานของทางผู้รับเหมาที่หน้างานโดยที่เพื่อนๆ เองอาจจะไม่ใช่วิศวกร และ ต้องการที่จะตรวจสอบดูว่า คอนกรีตผสมเสร็จที่ทางผู้รับเหมาสั่งมาที่หน้างานนั้นมีคุณสมบัติต่างๆ เป็นอย่างไรบ้าง เช่น ค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีต ค่าการยุบตัวของคอนกรีต เป็นต้น เพื่อนๆ จะมีวิธีการอย่างไรในการตรวจสอบข้อสงสัยประการนี้ได้บ้าง ? วิธีการที่ถือว่ามีความง่ายดายที่สุดในการตรวจสอบเลยก็คือ เพื่อนๆ ควรต้องสอบถามทางไปยัง ผู้ออกแบบ หรือ … Read More

ปัญหาเรื่องการกำหนดขนาดของ โครงสร้างเสา ในบางครั้งขนาดเสานั้นเล็กเกินไป บางครั้งก็มีขนาดใหญ่เกินความจำเป็น

ปัญหาเรื่องการกำหนดขนาดของ โครงสร้างเสา ในบางครั้งขนาดเสานั้นเล็กเกินไป บางครั้งก็มีขนาดใหญ่เกินความจำเป็น ในการพิจารณาเรื่องขนาดของโครงสร้างเสานั้นเราควรทำการพิจารณาจาก 3 ปัจจัยหลักๆ ได้แก่ (1) ขนาดจำนวนชั้นของอาคารที่เสาต้นนั้นจะต้องรับ หากอาคารของเราเป็นเพียงอาคาร 1 ถึง 2 ชั้น เราอาจจะทำการออกแบบให้โครงสร้างเสานั้นมีขนาดปกติได้นะครับ กล่าวคือ อาจจะเป็นขนาดของเสาที่เล็กที่สุด คือ 200×200 … Read More

พฤติกรรมของจุดต่อภายในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

พฤติกรรมของจุดต่อภายในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ภายใต้น้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่ง จุดต่อมักไม่ค่อยจะรับแรงอะไรมากมายนัก เพราะ โมเมนต์ดัดที่ปลายคานทั้งสองด้านของจุดต่อมีทิศตรงกันข้ามกัน (เป็นโมเมนต์ลบด้วยกันทั้งคู่) ดังนั้นจึงมีการถ่ายเท UNBALANCED MOMENT เข้าไปในจุดต่อที่ถือว่าไม่มากมายนัก ในทางตรงกันข้าม เมื่อมีแรงกระทำทางด้านข้างกระทำต่อโครงข้อแข็ง จุดต่อระหว่างเสาและคานจะเป็นบริเวณที่มีการถ่ายแรงสูงมากๆ ที่เป็นเช่นนี้เพราะโมเมนต์ดัดที่ปลายคานทั้งสองด้านของจุดต่อนี้จะมีทิศเดียวกัน ดังนั้นจึงทำให้เกิด UNBALANCE MOMENT ที่มีค่าสูงมากๆ ถ่ายเข้าไปยังบริเวณจุดต่อ ซึ่งผลของ … Read More

หากต้องการที่จะทำการต่อเติมบ้านพักอาศัยโดยอาศัยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของภูมิสยาม เราควรที่จะใช้เสาเข็มขนาดเท่าใดดี ?

หากต้องการที่จะทำการต่อเติมบ้านพักอาศัยโดยอาศัยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของภูมิสยาม เราควรที่จะใช้เสาเข็มขนาดเท่าใดดี ? เพื่อเป็นข้อมูลแก่เพื่อนๆ ส่วนใหญ่ของเราในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ในประเด็นๆ นี้กันนะครับ ประการแรกนะครับ เพื่อนๆ ควรที่จะให้วิศวกรทำการคำนวณหา นน บรรทุกที่จะลงมายังเสาเข็มของเพื่อนๆ เสียก่อน ซึ่งโดยปกติแล้วหากเราจะทำการต่อเติมอาคารบ้านเรือนของเรา จะ 1 ชั้น 2 ชั้น หรือว่า … Read More

ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร

ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร หากขึ้นชื่อว่าเป็นวิศวกรที่ดี เรามักที่จะต้องเป็นนักปฎิบัติงานที่ต้องทำงานภายใต้มาตรฐานการทำงานที่ดีและมีความเชื่อถือได้ ทั้งนี้เพราะเมื่อต้องนำหลักการหนึ่งหลักการใดจากมาตรฐานเหล่านี้ไปปฎิบัติใช้ในการทำงานจริงๆ ได้เราก็ต้องสามารถที่จะอ้างอิงไปยังมาตรฐานนั้นๆ ได้ด้วยนะครับ ซึ่งผมถือว่าส่วนหนึ่งของคำถามข้อนี้นั้นเป็นความบกพร่องของผมเองนะครับที่ไม่ได้ทำการกล่าวอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูลๆ นี้นะครับ ยังไงผมจะขออนุญาตเก็บประเด็นนี้เอาไว้เพื่อที่จะดำเนินการแก้ไขในการโพสต์ครั้งต่อๆ ไปนะครับ เอาเป็นว่าผมขออนุญาตตอบคำถามข้อนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ข้อมูลที่ผมได้ให้คำแนะนำไปกับเพื่อนๆ ไปนั้นมีการอ้างอิงมาจากเอกสารหนังสือ แนวทางการตรวจสอบชั้นดินเพื่องานฐานราก ในหน้าที่ 13 ถึง 14 ซึ่งได้จัดทำโดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย โดยเป็นเอกสารที่ถูกพิมพ์ไปเมื่อปี … Read More

ค่าระยะการทรุดตัวที่ออกมามีค่ามากกว่าค่าที่ยอมให้ซึ่งเท่ากับ 25 mm จะมีวิธีการแก้ปัญหาในลักษณะแบบนี้ได้อย่างไร

ค่าระยะการทรุดตัวที่ออกมามีค่ามากกว่าค่าที่ยอมให้ซึ่งเท่ากับ 25 mm จะมีวิธีการแก้ปัญหาในลักษณะแบบนี้ได้อย่างไร ประการแรก ควรที่จะตรวจสอบดูก่อนนะครับว่า จำนวนเสาเข็มที่เราทำการทดสอบทั้งหมดนั้นมีกี่ต้น และ มีกี่ต้นที่ให้ผลออกมาในทำนองนี้ เพราะ จากประสบการณ์ของผมการทดสอบด้วยวิธี DYNAMIC LOAD TEST นั้นถือว่าเป็นวิธีการทดสอบที่ค่อนข้างที่จะมี SENSITIVITY ที่ค่อนข้างสูงมากๆ กล่าวคือ การควบคุมให้ตัวแปรต้นต่างๆ ในการทดสอบนั้นเป็นไปในลักษณะที่มีความสอดคล้องกันนั้นมีความจำเป็นมากๆ … Read More

1 2 3 4 5 6