การคำนวณความยาวของการตัดเหล็กปลอกนั้นทำได้ยากหรืออย่างไร

การคำนวณความยาวของการตัดเหล็กปลอกนั้นทำได้ยากหรืออย่างไร ขอตอบตรงนี้เลยนะครับว่า ไม่ยากครับ แต่ ด้วยความที่มันง่ายนั้นเพื่อนๆ หลายคนก็มักที่จะลืมคิดถึงปัจจัยอื่นๆ ที่อาจเกี่ยวข้อง ทำให้บางครั้งการดัดเหล็กปลอกจริงๆ นั้นทำออกมาแล้วมีระยะที่สั้นกว่าระยะตามมาตรฐานซึ่งจะเป็นทำให้ต้องทำการดัดเหล็กปลอกนี้ใหม่ และ ในบางครั้งก็มีระยะที่ยาวมากเกินความจำเป็นทำให้สิ้นเปลืองเหล็กมากจนเกินไป ตัวอย่างเช่น ระยะของเหล็กที่เกิดจากองศาการงอที่มุมต่างๆ ของหน้าตัดโครงสร้าง เพราะ ระยะนี้จะขึ้นกับระยะ สผก ของเหล็กปลอกและเหล็กยืนเป็นหลัก โดยต้องนำสองค่านี้มาเปรียบเทียบกันและใช้ค่ามากเป็นเกณฑ์ ส่วนระยะยื่นที่ปลายการดัดก็เช่น … Read More

การระบุหน่วยในรายการคำนวณ

การระบุหน่วยในรายการคำนวณ เนื่องจากรุ่นน้องท่านนี้ไปเห็นรายการคำนวณการออกแบบโครงสร้างของผม และ ไปเห็นว่า หน่วยที่ผมใช้นั้นแปลกๆ คือ ผมตั้งใจที่จะเขียนตัวเลขในพจน์นั้นเป็น แรง (FORCE) ที่มีหน่วยเป็น กก (kg หรือ kilogram) ผมจึงเขียนตัวย่อในรายการคำนวณว่า kgf หรือ kilogram-force น้องท่านนี้จึงได้ถามกับผมว่า เหตุใดผมจึงต้องเขียนเช่นนี้ … Read More

ระหว่าง PLATE ELEMENT กับ SURFACE ELEMENT นั้นมีความเหมือน หรือ แตกต่างกันอย่างไร?

ระหว่าง PLATE ELEMENT กับ SURFACE ELEMENT นั้นมีความเหมือน หรือ แตกต่างกันอย่างไร? SURFACE ELEMENT ก็คือ PLATE ELEMENT อย่างหนึ่งนั่นเองนะครับ ซึ่งประเภทของ PLATE ELEMENT ที่ถูกเลือกนำมาใช้ทำการจำลองเจ้า SURFACE … Read More

คำสั่ง STAAD EDITOR

คำสั่งที่ถือว่าเป็น FEATURE หนึ่งในซอฟต์แวร์ทาง FINITE ELEMENT ที่มีชื่อว่า STAAD.PRO ซึ่งต้องถือว่ามีประโยชน์มากๆ นั่นก็คือ STAAD EDITOR STAAD EDITOR ก็คือ TEXT INPUT FORMAT ของตัวซอฟต์แวร์ ซึ่งจะสัมพันธ์กันกับ GRAPHICAL … Read More

วิธีแก้ปัญหาในกรณีที่การตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้กำหนดไว้ โดยวิธีการหมุนฐานราก

วิธีแก้ปัญหาในกรณีที่การตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้กำหนดไว้ โดยวิธีการหมุนฐานราก การแก้ไขฐานรากตามวิธีการที่ผมจะแนะนำให้แก่เพื่อนๆ ตาม ตย ในวันนี้มี วิธีในการทำงาน และ ข้อแม้ ในเบื้องต้นดังต่อไปนี้นะครับ (1) หากความผิดพลาดในการตอกเสาเข็มนั้นเป็นไปตามกรณีนี้ ทางผู้ควบคุมงานจำเป็นที่จะต้องทำการแจ้งปัญหานี้กับทางผู้ออกแบบเสียก่อนนะครับ เพราะ การที่เราจะแก้ไขปัญหาตามวิธีการนี้จะทำได้ก็ต่อเมื่อ ผู้ออกแบบได้ทำการออกแบบฐานรากโดยการจำลองจุดรองรับไว้เป็นแบบ จุดรองรับแบบยึดหมุน (PINNED SUPPORT) หรือ หากทำการจำลองจุดรองรับไว้เป็นแบบ … Read More

ระบบโครงสร้างฐานรากแบบลึก หรือ DEEP FOUNDATION

ระบบโครงสร้างฐานรากแบบลึก หรือ ในภาษาอังกฤษเราจะเรียกว่า DEEP FOUNDATION โดยเราจะสามารถทำการจำแนกประเภทของฐานรากว่าฐานรากของเราเป็น แบบลึก ก็ต่อเมื่อค่าอัตราส่วน ความลึก ที่ระดับปลายล่างสุดของฐานรากต่อ ความกว้าง ที่ระดับปลายล่างสุดของฐานรากนั้นมีค่ามากกว่า หรือ เท่ากับ 4.00 นะครับ เช่น ความลึกเท่ากับ 4.5 ม … Read More

สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า

สวัสดีครับ สาระดีดีเกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม กับ Mr.เสาเข็ม มาอีกแล้วนะครับ วันนี้จะเป็นหัวข้อ สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่าจะพบว่าหน้าตาของสมการนี้เป็นดังต่อไปนี้นะครับ P = Iw q Ce Cg Cp ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาขยายความถึงค่า Iw จากในสมการข้างต้น ซึ่งค่านี้ก็คือค่าประกอบความสำคัญของแรงลม ซึ่งจะสามารถจำแนกออกได้ตามลักษณะประเภทของอาคารโดยเกณฑ์ที่จะใช้ในการคำนึงถึง คือ … Read More

การวิเคราะห์และการประเมินโครงสร้างโครงถัก (TRUSS)

สวัสดีครับ บ่ายนี้ก็อยู่กับ Mr.เสาเข็มพร้อมความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรมนะครับ วันนี้จะเป็นเรื่องของการวิเคราะห์และการประเมินโครงสร้างโครงถัก (TRUSS) ก่อนอื่นขออธิบายถึง สมการ และ หลัก ในการประเมินโครงสร้างเสียก่อนนะครับ เนื่องจากสมมติฐานของการวิเคราะห์โครงถักที่เราใช้งานกันอยู่ คือ จุดต่อทุกจุดต่อนั้นเป็นจุดต่อแบบ ยึดหมุน (PINNED) ทำให้โครงสร้างโครงถักนั้นมีข้อแม้ง่ายๆ ว่าการที่โครงถักนั้นจะมีเสถียรภาพอยู่ได้นั้นจะต้องสามารถต้านทานโมเมนต์ดัดที่เกิดขึ้นภายใน (INTERNAL MOMENT) ตัวของโครงสร้างโครงถักเองได้ … Read More

การคำนวณเพื่อแก้ไขงานโครงสร้างของฐานรากเมื่อเสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์

สวัสดีทุกๆท่านนะครับ ช่วงเวลาบ่ายแบบนี้ Mr.เสาเข็ม ก็จะนำความรู้ดีดีเกี่ยวกับการก่อสร้างมาแชร์กันนะครับ สำหรับวันนี้จะเป็นเรื่อง การคำนวณเพื่อแก้ไขงานโครงสร้างของฐานรากเมื่อเสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ ในสถานการณ์ปกติหากว่ามีการทำการก่อสร้างโครงสร้างฐานรากและจำเป็นที่จะต้องใช้ระบบโครงสร้างเป็นเสาเข็ม ไม่ว่าจะเป็น เสาเข็มตอก หรือ เสาเข็มเจาะ และ หากเสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ไปจากตำแหน่งเดิมที่ทางผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้ เราจำเป็นที่จะต้องมีการคำนวณเพื่อทำการตรวจสอบรายการคำนวณซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วนหลักๆ นะครับ (1) ตัวโครงสร้างของเสาเข็ม ในบางครั้งเมื่อเสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ไป … Read More

EQUIVALENT LOAD BALANCING METHOD

  ref :  https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1315299961849459   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน วันนี้ผมจะมายก ตย เพิ่มเติมให้แก่เพื่อนๆ ในเรื่อง EQUIVALENT LOAD BALANCING METHOD นะครับ ก่อนอื่นผมต้องขออธิบายให้แก่เพื่อนๆ ทราบก่อนนะครับว่าหลักการในการหา นน บรรทุกเทียบเท่านั้นจะมีค่าเท่ากับค่าโมเมนต์ดัดของโครงสร้าง และ … Read More

1 2 3 4 5 6