การคำนวณการเสริมเหล็กในสภาวะสมดุลโดยวิธีกำลัง

ref : https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1316855285027260 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน เนื่องจากเมื่อหลายวันก่อนผมได้แนะนำเพื่อนๆ ถึงการเสริมเหล็กในสภาวะสมดุลโดยวิธีหน่วยแรงใช้งานกันไปแล้ว วันนี้ผมจะมาแนะนำการคำนวณการเสริมเหล็กในสภาวะสมดุลโดยวิธีกำลังบ้างนะครับ ที่ีสภาวะสมดุลนี้ คือ สภาวะที่ความเค้นในเหล็กเสริมต้านทานแรงดึงจะมีค่าเท่ากับค่ากำลังที่จุดคราก (fy) ซึ่งจะมีค่าสูงกว่าค่ากำลังรับแรงดึงในสภาวะที่เราเคยคำนึงถึงก่อนหน้า ซึ่งก็คือ สภาวะหน่วยแรงใช้งาน (fs) และ ความเครียดสูงสุดที่ผิวคานด้านที่เกิดหน่วยแรงอัดให้มีค่าเท่ากับค่าหน่วยความเครียดประลัย มีค่าเท่ากับ 0.003 สาเหตุที่สภาวะนี้เราสมารถใช้ค่าเหล่านี้ … Read More

ค่า β1 นั้นคือค่า สปส ที่ขึ้นกับกำลังอัดประลัยของ ตย รูปทรงกระบอกมาตรฐานของวัสดุคอนกรีตเป็นหลัก

  ref :  https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1317276634985125:0   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เมื่อวานนี้ผมได้ทำการ DERIVE ที่มาของค่า Pb ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน เพื่อนๆ อาจจะเห็นว่ามีค่า สปส ค่าๆ หนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณ ค่าๆ นั้นก็คือ … Read More

ชนิด และ ประเภท ของ คำว่า BOUNDARY CONDITIONS

ref : https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1318499641529491 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาให้คำแนะนำเกี่ยวกับเรื่อง ชื่อ ชนิด และ ประเภท ของ คำว่า BOUNDARY CONDITIONS กันนะครับ เพื่อนๆ อาจจะงงนะครับว่าคำว่า BOUNDARY CONDITIONS นั้นมีประเภทด้วยหรือ คำตอบคือ … Read More

เสาเข็มรับแรงกระทำทางด้านข้าง

ref : https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1318667298179392 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเสาเข็มรับแรงกระทำทางด้านข้างแก่เพื่อนๆ นะครับ โดยเรื่องเสาเข็มรับแรงทางด้านข้างนี้เป็นหลายๆ เรื่องที่น่าปวดหัวสำหรับวิศวกรโครงสร้างและวิศวกรธรณีเทคนิคหลายๆ ท่านนะครับ แต่ เอาเป็นว่าก็ไม่ใช่เรื่องที่ยากจนเกินความเข้าใจของวิศวกรไทยแน่นอนครับ เมื่อต้องทำการออกแบบเสาเข็มรับแรงทางด้านข้าง ก่อนอื่นเราต้องทำการจำแนกก่อนนะครับว่าเสาเข็มของเรานั้นมีคุณลักษณะเป็นแบบใด คือ (1) เป็นแบบ RIGID PILE (ดูรูปที่ … Read More

ชิ้นส่วน BOUNDARY ELEMENT นี้มีหน้าที่เพิ่ม STIFFNESS

ref : https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1321482977897824 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ เพื่อนๆ เคยสังเกตและสงสัยกันมั้ยครับว่าเวลาที่เราอ่านแบบวิศวกรรมโครงสร้างของผนังรับแรงเฉือนในโครงสร้างอาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 10 ชั้นขึ้นไป เหตุใดบางครั้งในผนังรับแรงเฉือนนั้นๆ ถึงมีลักษณะรูปร่างที่แปลกออกไป คือ จะเหมือนมี ELEMENT ที่ทำหน้าที่คล้ายๆ โครงสร้างเสาอยู่บริเวณขอบนอกสุดของผนังรับแรงเฉือนเพิ่มเติมขึ้นมา ซึ่งโดยมากในอาคารที่มีความสูงไม่มากมักจะไม่มี วันนี้ผมจะมาแชรืความรุ้เรื่องนี้ให้แก่เพื่อนๆ นะครับ ดูรูปที่ 1 … Read More

ระบบการก่อสร้างนั้นเป็นเสาเข็มที่ค่อนข้างมีความยาวมากๆ

  ref : https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1324101667635955:0   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้ผมจะมาตอบคำถามน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ได้สอบถามผมมาเกี่ยวกับเรื่องกรณีที่ในการก่อสร้างอาคารนั้นทำงานฐานรากของอาคารโดยอาศัยเป็นระบบเสาเข็ม และ มีปัญหาว่าหากเสาเข็มที่ใช้นั้นมีความยาวมากๆ และ ที่หน้างานมีปัญหาเรื่องถนนที่เข้ามายังโครงการก่อสร้างนั้นมีขนาดไม่กว้างใหญ่มากนักนะครับ วันนี้เราจะมาดูคำตอบกันนะครับ กรณีที่ระบบการก่อสร้างนั้นเป็นเสาเข็มที่ค่อนข้างมีความยาวมากๆ และ ยังมีปัญหาเรื่องถนนที่เข้ามายังโครงการก่อสร้างนั้นมีขนาดไม่กว้างใหญ่มากนักเราอาจเลือกประเภทของเสาเข็มออกได้เป็น 2 ระบบด้วยกัน คือ (1) ระบบเสาเข็มหล่อในที่ … Read More

ความสมดุล และ สถานะของสมดุล (EQUILIBRIUM AND STAGE OF EQUILIBRIUM)

ref : https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1325508264161962 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้แอดมินมีนิยามที่น่าสนใจจะมาเล่าให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันนะครับ เรื่องๆ นี้ก็คือ เรื่อง คำนิยามของคำ 2 คำ ก็คือ ความสมดุล และ สถานะของสมดุล (EQUILIBRIUM AND STAGE … Read More

เหตุใดการวางแนวลวดอัดแรงในโครงสร้าง คอร จึงต้องถูกทำการวางให้เป็นเส้นโค้งด้วย ?

  ref : https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1314712208574901   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หากดูในรูปที่ 1 เพื่อนๆ จะเคยสังเกตหรือไม่ครับ เวลาที่เราไปทำการเยี่ยมเยียนไซต์งาน หรือ ทำการควบคุมงานงาน คอร ณ หน้างาน เราเคยสงสัยกันหรือไม่ครับ ว่าเหตุใดการวางแนวลวดอัดแรงในโครงสร้าง คอร จึงต้องถูกทำการวางให้เป็นเส้นโค้งด้วย … Read More

หลักการหนึ่งในการวางเสาเข็มเจาะ (การวาง DOWEL BAR)

สวัสดีครับแฟนเพจทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในเย็นวันศุกร์สุดท้ายของเดือนกันยายนนะครับ วันนี้แอดมินตั้งใจจะมาเล่าถึงหลักการหนึ่งในการวางเสาเข็มเจาะมาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านกันนะครับ หลักการที่ว่านั่นก็คือ การวาง DOWEL BAR ที่บริเวณหัวของเสาเข็ม นั่นเองครับ ก่อนจะลงลึกในรายละเอียดต้องถามเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านก่อนว่า DOWEL BAR คืออะไร ? DOWEL … Read More

งานดีดบ้าน อาคารไม้หลังเก่า สำนักงานสาธารณสุข จ.ปทุมธานี

ตัวอย่างงานที่ใช้เสาเข็มเพื่อการต่อเติม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เป็นงานซ่อมแซมอาคารไม้หลังเก่า สำนักงานสาธารณสุข จ.ปทุมธานี ซึ่งทรุดโทรมมากเพราะมีอายุหลายสิบปีเริ่มตั้งแต่สร้างมา และผ่านเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่มาหลายรอบ ทางสำนักงานสาธารณสุข จ.ปทุมธานี ต้องการที่จะอนุรักษ์อาคารไม้หลังเก่าเอาไว้ จึงได้ให้ผู้รับเหมาเข้ามาปรับปรุงอาคารไม้หลังนี้ แอดมินเห็นว่างานนี้เป็นงานที่น่าสนใจมากในการนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์มาใช้ ก็เลยนำมาเขียนเป็นตัวอย่างให้ดูกันครับ ผู้รับเหมาที่รับผิดชอบงานนี้ก็เลยนำเอา เหล็กเอชบีม (H-Beam) มาใช้ทำเป็นโครงสร้างแทนโครงสร้างไม้ของเดิมที่เริ่มผุพัง … Read More

1 2 3 4 5 6