การคำนวณแรงฉุดดึงลงในดินของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมมีโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มเดี่ยวเป็นเสาเข็มไมโครไพล์รูปทรงเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 180 มม ที่จะถูกตอกลงไปในชั้นดินขนาดความลึกเท่ากับ 18 … Read More

สภาวะของการที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเกิดแรงดึงฉุดลง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากเพื่อนๆ เอาไว้ในสัปดาห์ที่ผ่านมาว่าวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึง วิธีในการคำนวณหาค่าของ แรงดึงฉุดลง หรือ NEGATIVE SKIN FRICTION ให้เพื่อนๆ ทุกๆ … Read More

การคำนวณหาค่า Fixed End Forces ที่ Node เมื่ออ้างอิงไปยัง Global Coordinate

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ สำหรับนักเรียนและนักศึกษาที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากในรูปจะเป็นโครงสร้างโครงข้อแข็งที่มีลักษณะเป็น STATICALLY INDTERMINATE ซึ่งจะประกอบไปด้วยชิ้นส่วนทั้งหมด 3 ชิ้นส่วนและก็จะมีมิติต่างๆ ของโครงข้อแข็งดังในรูปที่แสดง … Read More

เหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ   เมื่อช่วงที่ทางรัฐบาลได้มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินเกี่ยวกับไวรัสโควิทนั้น ผมได้มีโอกาสสนทนากับแฟนเพจหลายๆ ท่านเลย หนึ่งในนั้นก็คือน้องผู้หญิงท่านหนึ่งที่ได้ทำการสอบถามผมเข้ามาทางอินบ็อกซ์ส่วนตัวเกี่ยวกับเรื่อง การออกแบบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ โดยที่น้องท่านนี้ได้แจ้งกับผมว่า อยากที่จะให้ผมได้ทำการอธิบายเกี่ยวกับเรื่องขั้นตอนและวิธีในการออกแบบชิ้นส่วนโครงสร้างหน้าตัดเหล็กตัวซีที่เป็นแบบไลท์ลิปแต่เหมือนน้องท่านนี้จะเข้าใจอะไรคลาดเคลื่อนออกไปเล็กน้อยเพราะเค้ากลับพูดถึงวิธีในการคำนวณและออกแบบหน้าตัดของเหล็กที่ถูกผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีของเหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อนหรือว่า HOT ROLLED STEEL ซึ่งในความเป็นจริงนั้นเหล็กตัวซีที่เป็นแบบไลท์ลิปนั้นจะถูกผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีของเหล็กโครงสร้างรูปพรรณขึ้นรูปเย็นหรือว่า … Read More

วิธีในการคำนวณหาค่าของEcและEce

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากโครงสร้างๆ หนึ่งของผมต้องทำหน้าที่ในการรับกำลังอัดแบบเพิ่มค่าที่มีอัตราการคงค้างของน้ำหนักบรรทุกที่สูงมากๆ เป็นระยะเวลาที่ค่อนข้างจะต่อเนื่องและยาวนาน หากผมทราบได้จากการนำเอาตัวอย่างของคอนกรีตชุดนี้ไปทำการทดสอบในห้องปฏิบัติการ ผมก็จะพบว่าโครงสร้างๆ นี้จะมีค่ากำลัดอัดประลัยของคอนกรีตที่อายุ … Read More

ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ค่าFFLและSFL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ วันนี้ผมอยากจะขออนุญาตมาทำการหยิบยกและนำเอากรณีตัวอย่างจริงๆ มาอธิบายต่อว่า เพราะเหตุใดเราจึงต้องมีการใช้งานทั้งค่า FFL. และ SFL. นี้ในการทำงานก่อสร้างของเพื่อนๆ เพื่อให้เพื่อนๆ ทุกคน ได้ทราบรับและรับชมไปพร้อมๆ กันนะครับ จากรูปที่ … Read More

ความรู้เกี่ยวกับคอนกรีตปั๊ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ   เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาผมได้ทำการอธิบายถึงอุปกรณ์ที่มีประโยชน์อย่างหนึ่งในการทำงานการก่อสร้างในไซต์งานที่อยู่ค่อนข้างอยู่ในพื้นที่ๆ มีความลึกหรือพื้นที่ๆ อยู่ค่อนข้างสูง นั่นก็คือ รถเครนและถังบรรจุคอนกรีตหรือ CONCRETE BUCKET ทำให้ผมนึกถึงอุปกรณ์อีกตัวหนึ่งซึ่งจะช่วยให้การทำงานการก่อสร้างของเพื่อนๆ นั้นมีความประหยัดมากยิ่งขึ้นไปนั่นก็คือ “คอนกรีตปั๊ม” นั่นเองครับ … Read More

วิธีและขั้นตอนของการทดสอบการรั่วซึมของน้ำที่บริเวณชั้นดาดฟ้าของอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เวลาที่เราทำการออกแบบพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในกรณีที่ทำการก่อสร้างขึ้นในบริเวณทั่วๆ ไปของอาคาร เราจะพบเห็นได้ว่าบริเวณที่ขอบด้านบนและล่างของท้องพื้นนั้นจะเกิดเป็นรอยร้าวเล็กๆ ขึ้นเสมอและเมื่อวันเวลาผ่านไป รอยร้าวเหล่านั้นจะไม่เกิดการพัฒนาตัวเองจนเป็นรอยร้าวที่มีขนาดใหญ่โตมากยิ่งขึ้นซึ่งก็ถือได้ว่ากรณีนี้เป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้นอยู่แล้วนะครับ   หากพูดถึงกรณีของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ๆ ทำการก่อสร้างขึ้นในบริเวณที่เป็นชั้นดาดฟ้าหรือบริเวณพื้นที่แบบเปิด ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวจะเป็นพื้นที่ๆ ต้องสัมผัสกับแสงแดดและอากาศภายนอกอยู่ตลอดอายุการใช้งานของมัน เราก็จะพบเห็นได้ว่าบริเวณที่ขอบด้านบนและล่างของท้องพื้นนั้นจะเกิดเป็นรอยร้าวเล็กๆ เหมือนกันกับกรณีแรกแต่เมื่อวันเวลาผ่านไป … Read More

วิธีในการอ่านค่าบนเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ จริงๆ แล้วเนื้อหาที่ผมจะนำมาใช้เพื่อเป็นการพูดคุยกับเพื่อนๆ ในวันนี้ดูจะไม่ค่อยมีความเกี่ยวข้องกับชื่อหัวข้อนี้สักเท่าไหร่แต่ผมคิดว่าเอามาพูดถึงสักหน่อยก็ดีเหมือนกัน น่าจะมีเพื่อนๆ ของเราหลายๆ คนได้รับประโนชน์นั่นก็คือ เมื่อเร็วๆ นี้ผมได้ไปทำการตรวจสอบรายการวัสดุเหล็กที่เข้ามาในไซต์งาน ซึ่งพอผมเห็นก็ขอให้ทาง ผรม เปิดใบเซอร์ของเหล็กชุดนี้ให้ดู หลังจากนั้นก็ได้ทำการนำเอา … Read More

ระบบโครงสร้างฐานรากของอาคารในอดีตของประเทศไทย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   ตามที่เพื่อนๆ ทราบกันดีว่าระบบฐานรากในปัจจุบันเราจะนิยมใช้เป็นเป็นระบบฐานราก ค.ส.ล โดยจะเป็นฐานรากที่วางลงไปบนดินโดยตรงซึ่งเราจะเรียกว่า BEARING FOUNDATION หรือว่าเป็น ฐานรากที่วางอยู่บนเสาเข็มซึ่งเราจะเรียกว่า PILE … Read More

1 5 6 7 8 9 10 11 31